วันพุธที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2553

สังคม,ฝูงชน ,วัฒนธรรม,ลักษณะของวัฒนธรรม,ปัจจัยที่ก่อให้เกิดวัฒนธรรม, โครงสร้างทางสังคม ,กลุ่มทางสังคมที่เป็นระเบียบ - สรุปเนื้อหาสังคม ม.ปลาย (2)

ค่านิยม คือสิ่งที่คนสนใจ สิ่งที่คนปรารถนาจะเป็นได้ แบ่งเป็น 2 ประเภท

1.ค่านิยมบุคคล
2.ค่านิยมของสังคม

ค่านิยมที่ดีในไทย
1.ความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
2.ความกตัญญู
3.การเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่
4.ความซื่อสัตย์
5.สุภาพอ่อนน้อม

ค่านิยมที่ควรแก้ไข
1.ความมีวินัย
2.การตรงต่อเวลา
3.เชื่อโชคลาง
4.ชอบพิธีการ
5.ชอบพนัน

ลักษณะสังคมไทย
1.เป็นสังคมเกษตรกรรม
2.การศึกษาต่ำ
3.มีความรักความผูกพันในถิ่นกำเนิด
4.ยึดมั่นขนบธรรมเนียมประเพณี
5.โครงสร้างทางสังคมที่มีชนชั้น
6.เทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์

ลักษณะของสังคมเมือง
1.ความหนาแน่นประชากรมาก
2.ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกเป็นแบบทุติยภูมิ
3.การศึกษาสูง
4.มาตรฐานการครองชีพสูง
5.การแข่งขันสูง
6.อาชีพหลากหลาย รายได้สูง
7.ตื่นตัวทางการเมืองสูง
8.เปลี่ยนแปลงทางสังคมรวดเร็ว
ลักษณะสังคมชนบท
1.มีอาชีพทางการเกษตรมาก
2.พึ่งพาธรรมชาติมาก
3.ยึดมั่นในขนบธรรมเนียมประเพณี
4.มีความสัมพันธ์กันแบบปฐมภูมิ
5.ชีวิตความเป็นอยู่คล้ายๆกัน

ลักษณะของสิ่งที่เป็นปัญหาสังคม
1.สภาวการณ์ที่ไม่พึงปรารถนา
2.มีผลกระทบต่อคนจำนวนมาก
3.มีความต้องการที่จะปรับปรุงแก้ไข

ตัวอย่างที่เป็นปัญหาสังคมไทย
1.ความยากจน
2.การกระจายรายได้
3.ฉ้อราษฎร์บังหลวง
4.ยาเสพติด
5.การว่างงาน
6.สิ่งแวดล้อม
7.โรคเอดส์

การเปลี่ยนแปลงทางสังคม แบ่งได้ดังนี้
1.เปลี่ยนแปลงครั้งก่อนร.4 แต่เดิมเชื่อถือผีสาง เทวดาเชื่อวิญญาณ นำมาสู่ประเพณี เช่น เผาเทียนเล่นไฟ
พอมาถึงสมัยอยุธยาความสัมพันธ์ระหว่างพระมหากษัตริย์กับประชาชนเปลี่ยนจากพ่อ- ลูก มาเป็นนาย - บ่าว ชายเป็นใหญ่ในครอบครัว

2.หลังร.4 อารยธรรมตะวันตกเข้ามา ผู้หญิงมีบทบาทมากขึ้น เปลี่ยนสมัยจอมพล ป.

3.การเปลี่ยนในปัจจุบัน อิทธิพลตะวันตกยิ่งมาก ความเชื่ออุดมการณ์เปลี่ยน ความเท่าเทียมมากขึ้น ความสัมพันธ์ในครอบครัวลดลง

การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง
สุโขทัย พ่อปกครองลูก มีพ่อขุนรามเป็นผู้นำ รับผิดชอบทุกด้าน ประชาชนมีหน้าที่ทำตามความสัมพันธ์

อยุธยา แบบเทวราชาหรือสมมติเทพ ปกครองแบบจตุสดมภ์แบ่งเป็น เวียง วัง คลัง นา

รัตนโกสินทร์ แบบเทวราชา ตอนต้นแบบอยุธยา จนถึงร.5 ปฏิรูปสังคม เศร.และการปกครอง
จัดระเบียบตามตะวันตก จน 2475เปลี่ยนจากสมบูรณาญาสิทธิราชมาเป็นประชาธิปไตย โดยคณะราษฎร์ แบ่งอำนาจเป็น 3 ฝ่าย
1.บริหาร - รัฐรับผิดชอบ
2.นิติบัญญัติ - ออกกฎหมายโดยรัฐสภา
3.ตุลาการ - ให้ความยุติธรรมโดยศาล

การเปลี่ยนแปลงทางเศร. แบ่งเป็น
1.ไม่มีแบบแผน ตั้งแต่อยุธยา - 2504
2.มีแบบแผน หลัง2504 เป็นต้นมา
(ดูเรื่องแผนพัฒนาเศร. ในกระทู้ที่ 0442 ค.ห. 5 ประกอบ
http://www.a-ivf.com/cud41/board/generate.php?content=0442&page=-1

แนวโน้มเศร.
1.เศร. - ชนบทและเมืองจะต่างกันมากขึ้นด้านรายได้
2.เสียเปรียบดุลการค้าต่อเนื่อง เพราะสั่งวัสดุเข้ามามาก
3.แรงงานเกษตรเป็นแรงงานอุตฯมากขึ้น รายได้ดีกว่า
4.ชนบทมีพื้นทีททำกินน้อยลง เพราะการขยายตัวของอุตฯ
5.สังคมเน้นอุตฯ
6.ใช้เครื่องจักรมากขึ้น แรงงานลดความสำคัญลง
7.เน้นทักษะมากขึ้น
8.คมนาคมขยายตัวมาก

แนวโน้มด้านสังคม
1.เป็นปัจเจกชนมากขึ้น
2.เสมอภาค
3.ครอบครัวแตกแยกมากขึ้น
4.วัยรุ่นมีพฤติกรรมต่างไปจากเดิม
5.ยังยึดถือโชคลางแต่เป็นการแข่งขัน
6.มีค่านิยมในด้านสร้างปัญหา เช่น นิยมต่างชาติ เห็นแก่เงิน

แนวโน้มด้านการเมือง
1.มีส่วนร่วมมากขึ้นทุกรูปแบบโดยผ่านการเลือกตั้ง
2.มีประชาธิปไตยมากขึ้น
3.ขาดแรงกระตุ้นให้สร้างผู้นำอย่างแท้จริง
4.เป็นนักปฏิบัติมากกว่านักอุดมการณ์
5.คนมีฐานะจะมีส่วนร่วมทางการเมืองมากขึ้น

เรื่องภูมิปัญญาดูในกระทู้ที่ 0433 ค.ห.18
http://www.a-ivf.com/cud41/board/generate.php?content=0433&page=1


สิทธิมนุษยชน คือ สิทธิที่มนุษย์ทุกคนมีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์เท่าเทียมกัน ใครจะละเมิดไม่ได้
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประกอบด้วยประธานคนหนึ่ง และกรรมการ10 คน
ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง มีวาระในการดำรงตำแหน่ง 6 ปี และดำรงได้วาระเดียว

อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการนี้
1.ตรวจสอบ+รายงานการละเมิดสิทธิ
2.เสนอแนะนโยบายและข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย
3.ส่งเสริมการศึกษา วิจัย เผยแพร่ความรู้ด้านสิทธิ
4.ส่งเสริมความร่วมมือประสานงานระหว่างหน่วยงานราชการ องค์การเอกชน+องค์การอื่นด้านสิทธิมนุษยชน
5.จัดทำรายงานประจำปี ประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิในปท.เสนอรัฐสภา
6.อำนาจหน้าที่อื่นตามนักกฎหมายบัญญัติ

รัฐ คือ กลุ่มคนที่อยู่ในดินแดนที่มีอาณาเขตแน่นอน มีรัฐบาลซึ่งมีอำนาจอธิปไตย
องค์ประกอบมี 4 ประการ
1.ประชากร
2.ดินแดน
3.รัฐบาล ทำหน้าที่รักษาความสงบภายใน ป้องกันการรุกรานจากภายนอกฯลฯ
4.อำนาจอธิปไตย คืออำนาจสูงสุดในการปกครองของรัฐ

ประเภทของรัฐมี 2 แบบคือ
1.รัฐเดี่ยว มีรัฐบาลปกครองเพียงรัฐบาลเดียว รวมอำนาจไว้ที่ส่วนกลางแห่งเดียว เช่น ไทย ญี่ปุ่น สวีเดน อังกฤษฯลฯ

ข้อสังเกต มีลักษณะการปกครองที่มีกฎหมาย ระเบียบแบบแผนอย่างเดียวกันทั้งปท. อาณาเขตไม่กว้างขวางเท่าใดนัก

2.รัฐรวม คือ รัฐที่มีการปกครอง 2 ระดับ คือมีทั้งรัฐบาลที่ตั้งอยู่ที่เมืองหลวงของรัฐ
กับรัฐบาลมลรัฐ(รัฐบาลท้องถิ่น) มีหน้าที่เกี่ยวกับการดำลงชีวิตประจำวัน

ข้อสังเกต มีรัฐบาล 2 ระดับ ส่วนใหญ่มีอาณาเขตกว้างขวาง ไม่มีเอกภาพในการบริหาร
ประชาชนมีหลายเชื้อชาติ+วัฒนธรรม ชื่อปท.มักขึ้นต้นด้วยคำว่า สหรัฐ สหภาพ สหพันธรัฐ สมาพันธรัฐ

หน้าที่ของรัฐ
1.ให้ความปลอดภัยแก่ประชาชน
2.ให้ความเป็นธรรม
3.ให้สวัสดิการ
4.รักษาความสงบและความเป็นระเบียบ
5.รักษาอธิปไตยหรือความเป็นเอกราช

ระบบการปกครองของรัฐมี 2 ระบบใหญ่
1.ประชาธิปไตย อำนาจสูงสุดเป็นของประชาชน บุคคลมีคุณค่า มีความเท่าเทียม เน้นหลักประนีประนอม
เน้นหลักศีลธรรม ให้ความสำคัญแก่บุคคล ใช้หลักเหตุผลขจัดความขัดแย้ง ยึดเสียงข้างมาก รูปแบบการปกครองมี 3 แบบ

- รัฐสภา รัฐสภามีอำนาจเหนือคณะรัฐมนตรีควบคุมนโยบาย+การบริหารของคณะรัฐมนตรี
คณะรัฐมนตรีเอากฎหมายที่รัฐสภาบัญญัติไปปฏิบัติ นิติบัญญัติลงมติไม่ไว้วางใจฝ่ายบริหารได้
ถ้าแพ้มติรัฐบาลต้องออกจากตำแหน่ง ฝ่ายบริหารยุบสภาได้
ฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหารควบคุมการทำงานซึ่งกันและกัน เช่นย ไทย ญี่ปุ่น อังกฤษ

- ประธานาธิบดี แยกอำนาจระหว่างฝ่ายนิติบัญญัติกับฝ่ายบริหารและตุลาการ ทุกอำนาจถ่วงดุลกัน
สมาชิกสภาและประธานาธิบดีมาจากการเลือกตั้ง แต่ละฝ่ายมีอำนาจมีอิสระในการปฏิบัติหน้าที่ เช่นUSA
หลักการแบบนี้ประชาชนจะได้รับหลักประกันเรื่องสิทธิเสรีภาพอย่างเต็มที่

- กึ่งประธานาธิบดี กึ่งรัฐสภา นำทั้ง 2 แบบมาผสมกัน เช่น ฝรั่งเศส

2.เผด็จการ รวมอำนาจไว้ที่คน คณะบุคคล หรือพรรคการเมืองเดียว ผู้นำสามารถอยู่ในอำนาจำด้ตลอดชีวิต
รัฐธรรมนูญ และการเลือกตั้งไม่มีความจำเป็น มี 2 รูปแบบคือ

- อำนาจนิยม ประชาชนไม่มีสิทธิเสรีภาพทางการเมือง แต่มีในด้านเศร.สังคม
เช่น แบบสมบูรณาญาสิทธิราช แบบคณะบุคคล แบบอภิชนาธิปไตย(คืออะไรน่ะการปกครองแบบนี้??)

- เบ็ดเสร็จ ผู้นำมีอำนาจสูงสุด ลงโทษผู้กระทำผิดอย่างรุนแรง ประชาชนไม่มีเสรีภาพเลย
มีทั้งฟัสซิสต์ เช่น เยอรมัน อิตาลี และคอมมิวนิสต์ เช่น จีน เวียดนาม

เงื่อนไขที่ก่อให้เกิดการปกครองแบบเผด็จการ
1.ประชาชนมีการศึกษาต่ำ
2.เศร.ตกต่ำ
3.มีปัญหาความแตกต่าง หรือความไม่สงบภายในปท.
4.ความเคยชินกับเผด็จการมาก่อน

ข้อดีข้อเสียของประชาธิปไตย
ข้อดี ประชาชนมีเสรีภาพมาก มีโอกาสเข้าร่วมการบริหารของปท. ระงับข้อขัดแย้งระหว่างรัฐกับประชาชน

ข้อเสีย เกิดความล่าช้าในการตัดสินใจ เสียค่าใช้จ่ายในการปกครองมาก อาจนำไปสู่ความสับสนวุ่นวาย

ระบบเศร.การเมืองของปท.ต่างๆ แบ่งได้ 4 ระบบคือ

1.ทุนนิยมประชาธิปไตย คือนำประชาธิปไตยผสมกับระบบเศร.ให้เสรีภาพกับบุคคลในการประกอบการมากสุด เช่น USA ญี่ปุ่น

2.สังคมนิยมประชาธิปไตย ใช้ระบบการเมืองแบบประชาธิปไตย แต่ใช้ระบบเศร.แบบสังคมนิยม
รัฐดูแลการผลิตสำคัญ ในส่วนที่เกี่ยวกับความมั่นคงปท. เช่น อังกฤษ ไทย สวีเดน

3.สังคมนิยมเผด็จการ (เผด็จการคอมมิวนิสต์) รัฐเป็นผู้ควบคุม กำหนดการวางแผนควบคุมทรัพยากร ดำเนินการผลิตควบคุมราคาแจกจ่าย ปันส่วนเองทั้งหมด เช่น จีน เกาหลีเหนือ คิวบา

4.ทุนนิยมเผด็จการ ส่วนใหญ่เป็นปท.กำลังพัฒนา หรือปท.เกิดใหม่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เช่นไทยยุคจอมพลสฤษดิ์


วิวัฒนาการทางการเมืองการปกครองของไทย
สมัยสุโขทัย เป็นแบบพ่อปกครองลูก แบ่งการปกครองดังนี้

1.การปกครองราชธานี พระมหากษัตริย์ดำเนินการปกครองเอง

2.การปกครองส่วนภูมิภาค แบ่งหัวเมืองการปกครองออกเป็น 2 ประเภท

- หัวเมืองชั้นใน ได้แก่เมืองหน้าด่าน เมืองลูกหลวง จัดเป็นเมือฝในเขตรอบพระราชธานี 4 ด้าน คือ
เมืองศรีสัชนาลัย(สวรรคโลก) สองแคว(พิษณุโลก) สระหลวง(พิจิตร) ชากังราว(กำแพงเพชร)

- หัวเมืองชั้นนอก หรือเมืองพระยามหานครมีผู้ปกครองที่ขึ้นตรงต่อสุโขทัยแต่อยู่ไกลออกไป
เช่น เมืองแพรก(สรรคบุรี) อู่ทอง(สุพรรณบุรี) ราชบุรี ตะนาวศรี แพร่ หล่มสัก เพชรบูรณ์ ศรีเทพเมืองประเทศราช
ส่วนใหญ่เป็นเมืองที่ชาวต่างชาติ มีกษัตริย์ปกครองแต่ขึ้นกับสุโขทัยในฐานะประเทศราช
เช่น นครศรีธรรมราช ยะโฮว์ ทวาย หงสาวดี น่าน เวียงจันทร์

- การปกครองประเทศราช ให้เจ้าเมืองเดิมปกครองกันเองแต่ต้องส่งบรรณาการ

สมัยอยุธยา ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ได้อิทธิพลมาจากขอม+อินเดีย เป็นแบบเทวสิทธิ์(เทวราชา/สมมติเทพ)
ถือว่ากษัตริย์เป็นเจ้าชีวิต แบ่งเป็น 3 สมัย

1.สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (อู่ทอง) แบ่งการปกครองคือ

- การปกครองส่วนกลาง หรือจตุสดมภ์ตามอิทธิพลขอม คือ
เวียง รักษาความสงบเรียบร้อย ปราบโจรผู้ร้าย
วัง เกี่ยวกับราชสำนัก การยุติธรรม การตัดสินคดีต่างๆ
คลัง งานคลังมหาสมบัติ การค้า ภาษีต่างๆ
นา ด้านการเกษตร

- การปกครองส่วนภูมิภาคแบ่งเป็น 4 ส่วน

เมืองหน้าด่าน ป้องกันราชธานี 4 ทิศ คือ ลพบุรี นครนายก พระประแดง สุพรรณบุรี
หัวเมืองชั้นใน เรียงรายตามระยะทางคมนาคม สามารถติดต่อราชธานีได้ภายใน 2 วัน เช่น สิงห์บุรี ชลบุรี ปราจีนบุรี ราชบุรีฯลฯ
หัวเมืองชั้นนอก หรือเมืองพระยามหานคร เป็นเมืองที่อยู่ไกลออกไปกษัตริย์จะส่งขุนนางที่วางพระทัยไปปกครอง
เช่น ตะนาวศรี โคราช จันทบุรี นครศรีธรรมราช
หัวเมืองปท.ราช ได้แก่ มะละกา ยะโฮว์

2.สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ มีการปรับปรุงการปกครองครั้งใหญ่ใช้มาจนสิ้นสมัยอยุธยา

- มีการแบ่งแยกการปกครองเป็น 2 ฝ่าย คือ ฝ่ายพลเรือน มีสมุหนายกเป็นหัวหน้า ฝ่ายทหารมีสมุหกลาโหมเป็นหัวหน้า

- ยกเลิกเมืองหน้าด่านและการส่งพระราชวงศ์ไปปกครอง โดยแต่งตั้งขุนนางไปปกครอง

- จัดลำดับหัวเมืองชั้นนอกเป็นหัวเมืองเอก โท ตรี ตามลำดับความสำคัญโดยส่งขุนนางไปปกครอง

- หัวเมืองชั้นในมีฐานะเป็นเมืองจัตวาขึ้นตรงต่อราชธานี

- จัดวางระเบียบเกี่ยวกับศักดินา ตำแหน่ง ยศ และราชทินนาม สำหรับบุคคลที่จะเข้ารับราชการ

3.สมัยพระเทพราชา มีการเปลี่ยนแปลงจากสมัยพระบรมไตรฯเล็กน้อย
โดยเปลี่ยนระบบควบคุมอำนาจทหารฝ่ายเดียวเป็นแบบคานอำนาจ 2 ฝ่าย
สมุหนายกดูแลควบคุมหัวเมืองทางเหนือ สมุหกลาโหมดูแลหัวเมืองทางใต้

สมัยธนบุรี ยังคงตามอย่างสมัยอยุธยาเป็นหลัก

สมัยรัตนโกสินทร์ แบ่งได้ 2 สมัย
1.ตอนต้น ยึดหลักสมัยอยุธยาแต่ความเป็นสมบูรณาญาสิทธิราชย์ของกษัตริย์ลดลง
2.การปฏิรูปสมัยสมเด็จพระจุลฯ

สมัยประชาธิปไตย
สาเหตุการปฏิรูป
1.ป้องกันจักรวรรดินิยม
2.พัฒนาปท.ตามแบบอย่างอารยปท.
3.สร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
4.รักษาเอกราชและความอยู่รอด

การปฏิรูปการปกครอง
ปรับปรุงการบริหารราชการส่วนกลาง

1.ยกเลิกสมุหนายก สมุหกลาโหม ตำแหน่งจตุสดมภ์

2.จัดตั้งกระทรวง 12 กระทรวง(พ.ศ.2435)

- มหาดไทย บังคับบัญชาหัวเมืองฝ่ายเหนือและเมืองลาว

- กลาโหม บังคับบัญชาหัวเมืองฝ่ายใต้ หัวเมืองฝ่ายตะวันออกและเมืองมลายา

- ต่างปท.จัดการเกี่ยวกับต่างปท.

- วัง กิจการในพระราชวัง

- เมืองหรือนครบาล จัดการเกี่ยวกับเรื่องตำรวจและราชทัณฑ์

- เกษตรธิการ เกี่ยวกับการเพาะปลูก เหมืองแร่ ป่าไม้

- คลัง ภาษีอากรและงบประมาณแผ่นดิน

- ยุติธรรม จัดการเรื่องชำระคดีและการศาล

- ยุทธนาธิการ จัดการเกี่ยวกับเรื่องทหาร

- ธรรมการ ว่าด้วยเรื่องการศึกษา การสาธารณสุขและการสงฆ์

- โยธาธิการ การก่อสร้าง การช่าง ไปรษณีย์ โทรเลข รถไฟ

- มุรธาธิการ การรักษาตรวจตราแผ่นดินและระเบียบสารบรรณ

3.ตั้งสภาที่ปรึกษาในพระองค์ ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นรัฐมนตรีสภา ประกอบด้วยเสนาบดี หรือผู้แทนแต่งตั้งรวมกันไม่น้อยกว่า 12 คน
เพื่อเป็นที่ปรึกษาและคอยทัดทานอำนาจกษัตริย์

4.ตั้งองคมนตรีสภา สมาชิกไม่น้อยกว่า 49 คน มีทั้งสามัญชน ขุนนางระดับต่างๆ และพระราชวงศ์
มีฐานะรองจากรัฐมนตรีสภา

การปรับปรุงการปกครองส่วนภูมิภาค ยุบหัวเมืองต่างๆ โดยใช้การปกครองแบบเทศาภิบาล
แบ่งการปกครองเป็น หมู่บ้าน ตำบล อำเภอ เมือง(จังหวัด) และมณฑล โดยส่งข้าราชการจากส่วนกลางไปปกครอง

การปรับปรุงการปกครองส่วนท้องถิ่น ร.5 ทรงจัดให้มีการบริหารงานราชการส่วนท้องถิ่นในรูปสุขาภิบาล คล้ายเทศบาลในปัจจุบัน

การปกครองในระบอบประชาธิปไตย

สาเหตุการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475

1.อิทธิพลแนวคิดจากตะวันตก
2.นักเรียนไทยที่ไปศึกษาที่ปท.ตะวันตกต้องการเปลี่ยนการปกครอง
3.รัฐบาลแก้ปัญหาเศร.ไม่ได้

คณะราษฎร์ประกอบด้วย ทหาร ตำรวจ พลเรือน มีพันเอกพระพหลพลพยุหเสนาเป็นหัวหน้า
นายปรีดีเป็นเลขา ได้ปฏิวัติการปกครองสำเร็จ

ผลการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
1.มีกฎหมายรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดสูงสุด

2.กษัตริย์มีพระราชฐานะและพระราชอำนาจตามที่รัฐธรรมนูญบัญญัติไว้โดยทรงเป็นผู้ใช้อำนาจอธิปไตยทางอ้อม 3 ทาง
- อำนาจนิติบัญญัติ ผ่านรัฐสภา
- บริหาร ผ่าน คณะรัฐมนตรี
- ตุลาการ ผ่านศาลยุติธรรม

3.จัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน 3 ส่วนคือ
- ส่วนกลาง ได้แก่กระทรวง ทบวง กรม
- ส่วนภูมิภาค ได้แก่ เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบลและส่วนจังหวัด เมืองพัทยา กรุงเทพ

การปกครองแบบประชาธิปไตยของไทยในปัจจุบัน
พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์

1.มีพระราชอำนาจยับยั้งพ.ร.บ. กฎหมาย ที่นายกนำขึ้นทูลเกล้า

2.แต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน

3.แต่งตั้งองคมนตรี(ประธาน 1 องคมนตรีอื่นไม่เกิน 18 คน)

4.สถาปนาถานันดรศักดิ์ พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์


สิทธิของพระมหากษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตย

1.แนะนำ ตักเตือน รัฐบาล ศาล ฯลฯที่เห็นว่าจะเกิดผลเสียหายแก่บ้านเมือง

2.รับรู้เรื่องราวต่างๆ

3.พระราชทานคำปรึกษา กรณีที่คณะรัฐมนตรีมีปัญหาเกี่ยวกับการบริหารราชการแผ่นดิน

4.พระราชทานการสนับสนุนการกระทำหรือกิจการใดๆของรัฐ เอกชนที่เห็นว่าเป็นประโยชน์ต่อบ้านเมือง

พระราชกรณียกิจ
1.พิธีการและศาสนา
2.สงเคราะห์ประชาชน
3.พัฒนาสังคม
4.การเมืองการปกครอง

บทบาทของพระมหากษัตริย์
1.ศูนย์รวมจิตใจประชาชน

2.สัญลักษณ์แห่งความต่อเนื่องของชาติ

3.พุทธมามกะและอัครศาสนูปถัมภก

4.ส่งเสริมความมั่นคงของปท.

5.แก้ไขวิกฤตการณ์ที่ร้ายแรงในปท.

6.เสริมสร้างสัมพันธไมตรีระหว่างปท.

7.เกื้อหนุนระบอบประชาธิปไตย

8.เป็นผู้นำในการพัฒนาและปฏิรูปเพื่อประโยชน์ปท.ชาติ

9.เป็นพลังในการสร้างขวัญและกำลังใจของประชาชน

รัฐสภาไทยแบ่งเป็น 2 ประเภท
1.วุฒิสภา มีสมาชิก 200คน มาจากการเลือกตั้งของประชาชน มีวาระ6 ปี

คุณสมบัติ
1.สัญชาติไทยโดยกำเนิด


2.อายุไม่ต่ำกว่า 40 ปีบริบูรณ์


3.การศึกษาไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีหรือเทียบเท่า


4.ไม่สังกัดพรรคการเมือง


5.ไม่เป็นข้าราชการประจำ


6.ไม่เป็นผู้รับสัมปทานประเภทผูกขาดจากรัฐ


อำนาจหน้าที่ กลั่นกรองกฎหมายที่มาจากสภาผู้แทนราษฎร ควบคุมฝ่ายบริหาร ให้ความเห็นชอบการแต่งตั้งองค์กรอิสระ

2.สภาผู้แทนราษฎร มี 500 คน แบ่งเป็น
- ส.ส.จากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต เลือกได้เขตละ1 คน
- ส.ส.จากบัญชีรายชื่อ 100 คน

คุณสมบัติของส.ส.
1.สัญชาติไทยโดยกำเนิด


2.อายุ25ปีขึ้นไป


3.การศึกษาตั้งแต่ปริญญาตรี หรือเทียบเท่า


4.ต้องสังกัดพรรคการเมือง


5.ไม่เป็นข้าราชการประจำ


6.ไม่เป็นผู้รับสัมปทานผูกขาดจากรัฐ


7.ถ้าได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีต้องลาออกจากส.ส.

อำนาจหน้าที่ แต่งตั้งและควบคุมฝ่ายบริหาร ออกกฎหมาย

ฝ่ายบริหารคือคณะรัฐมนตรี
คณะรัฐมนตรีประกอบด้วย นายกรัฐมนตรี 1 คน รัฐมนตรี ไม่เกิน 35 คน
คุณสมบัติ
1.สัญชาติไทยโดยกำเนิด

2.อายุ35 ปีขึ้นไป

3.ไม่เป็นข้าราชการประจำ

4.ไม่เป็นผู้รับสัมปทานประเภทผูกขาดจากรํบ

5.ถ้าเป็นส.ส.ต้องลาออกจากการเป็นส.ส.ก่อน

การพ้นตำแหน่ง
1.ยุบสภา
2.นายกลาออก
3.ถูกอภิปรายไม่ไว้วางใจ และได้รับคะแนนเสียงไม่ไว้วางใจเกินครึ่ง
4.ถูกศาลพิพากษาว่ามีความผิดทางอาญา

การบริหารงานตามกฎหมายและตามนโยบายที่แถลงได้ต่อรัฐสภา
1.จัดหารายได้และทำงบประมาณรายจ่ายในการบริหารปท.
2.สร้างความมั่นคงปลอดภัย รักษาเอกราชของชาติ
3.สร้างความเจริญของเศร.
4.สร้างความสงบเรียบร้อยในสังคม รักษาขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม เอกลักษณ์ของชาติ
5.สร้างสัมพันธไมตรีที่ดีกับนานาอารยปท.

การบริหารราชการแผ่นดินของรัฐสภา แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ
1.ระเบียบการบริหารราชการส่วนกลาง ได้แก่ กระทรวง ทบวง กรม
2.ส่วนภูมิภาค ได้แก่ จังหวัด อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน
3.ส่วนท้องถิ่น กระจายอำนาจการปกครองไปสู่ท้องถิ่น ปัจจุบันแบ่งเป็น 4 แบบ
- เทศบาล
- องค์การบริหารส่วนจังหวัด
- องค์การบริหารส่วนตำบล
- ลักษณะพิเศษ มีกรุงเทพ พัทยา

อำนาจตุลาการ คือ ศาล
ศาลรัฐธรรมนูญ
วินิจฉัยว่ากฎหมายขัดแย้งกับรัฐธรรมนูญหรือไม่ วินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ขององค์กรต่างๆ
องค์การที่ทำหน้าที่ในศาลรัฐธรรมนูญเรียก ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ และได้รับการแต่งตั้งโดยความเห็นชอบของวุฒิสภา

ศาลปกครอง พิจารณาคดีที่ประชาชนยื่นฟ้องหน่วยงานราชการ ตัวข้าราชการ รัฐวิสาหกิจหรือพนักงานรัฐวิสาหกิจ มี 2 ระดับ คือ ศาลปกครองชั้นต้น กับศาลปกครองชั้นสูงสุด

ตุลาการศาลปกครองได้รับการแต่งตั้งโดยความเห็นชอบของสมาชิกวุฒิสภา

ศาลยุติธรรม พิจารณาพิพากษาคดีทั่วไป แบ่งเป็น 3 ระดับ ศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ ศาลฎีกา

ศาลชั้นต้น คือ ศาลที่จะรับพิจารณาคดีเบื้องต้นระหว่างคู่กรณีที่พิพาทกันปัจจุบันศาลชั้นต้นได้แก่

- ศาลแพ่ง

- ศาลอาญา

- ศาลจังหวัด

- ศาลแขวง

- ศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง

- ศาลแรงงาน

- ศาลภาษีอากร

- ศาลทรัพทย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างปท.

- ศาลล้มละลาย

ก.ต.ย่อมาจาก คณะกรรมการตุลาการ มีอำนาจหน้าที่แต่งตั้งโยกย้ายถอดถอนผู้พิพากษาศาลยุติธรรม ประธานคือ ประธานศาลฎีกา

พรรคการเมือง หน้าที่
1.ดำเนินกิจกรรมทางการเมือง
2.เผยแพร่อุดมการณ์ประชาธิปไตย
3.ควบคุมการทำงานของรัฐบาล

คณะกรรมการการเลือกตั้ง ควบคุมการเลือกตั้งส.ส. และส.ว. รวมทั้งการเลือกตั้งส่วนท้องถิ่น
ตามรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน ถ้ามีการยุบสภาให้เลือกตั้งภายใน 60 วัน ถ้าครบวาระ เลือกตั้งภายใน 45 วัน

บุคคลที่มีสิทธิเลือกตั้ง
1.มีสัญชาติไทย ถ้าแปลงสัญชาติต้องได้สัญชาติมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี
2.อายุ18ปีขึ้นไป ในวันที่1 มกราคมของปีที่มีการเลือกตั้ง
3.มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 90 วัน

บุคคลที่ไม่มีสิทธิเลือกตั้ง

1.วิกลจริต จิตฟั่นเฟือน ไม่สมประกอบ

2.เป็นภิกษุสามเณร นักพรต นักบวช

3.ต้องคุมขังหรือโดนหมายศาล หรือคำสั่งที่ชอบโดยกฎหมาย

4.อยู่ในระหว่างเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง

ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ไม่น้อยกว่า 50,000 คนมีสิทธิ เสนอร่างพระราชบัญญัติต่อรัฐสภาในหมวดสิทธิเสรีภาพและถอดถอนข้าราชการระดับสูงหรือนักการเมืองที่ทุจริต และประพฤติมิชอบทางราชการ

คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ(ป.ป.ช.)
มีหน้าที่ตรวจสอบนักการเมือง หรือข้าราชการระดับสูงที่ทุจริตหรือประพฤติมิชิอบทางราชการ

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
ตั้งแต่มีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 จนปัจจุบัน ไทยได้ประกาศใช้รัฐธรรมนูญทั้งสิ้น 16 ฉบับ

สิทธิ เสรีภาพ และหน้าที่ของชนชาวไทยตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ

สิทธิของประชาชนชาวไทย

1.ชีวิตและร่างกาย

2.ครอบครัว

3.การรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

4.ทรัพย์สิน

5.การรับบริการทางสาธารณสุข

6.ได้รับความคุ้มครองโดยรัฐ สำหรับเด็ก เยาวชน และบุคคลในครอบครัว

7.ได้รับความช่วยเหลือจากรัฐ สำหรับผู้สูงอายุ

8.ได้รับสิ่งอำนวยความสะดวก ความช่วยเหลือจากรัฐสำหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพ

9.มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์+ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ

10.ได้รับการคุ้มครองฐานะผู้บริโภค

11.ได้รับทราบข้อมูลหรือข่าวสารสธารณะ

12.ได้รับข้อมูล คำชี้แจง และแสดงค.ห.ในโครงการที่ส่งผลกระทบถึงประชาชน

13.มีส่วนร่วมในการพิจารณาซึ่งมีผลกระทบถึงสิทธิและเสรีภาพของตน

14.เสนอเรื่องราวร้องทุกข์

15.ฟ้องร้องหน่วยงานรัฐ

16.ต่อต้านการกระทำเพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจในการปกครองปท.ซึ่งขัดต่อรัฐธรรมนูญ


เสรีภาพของประชาชนชาวไทย

1.ชีวิตและร่างกาย

2.เคหสถาน

3.การเดินทางและการเลือกถิ่นที่อยู่

4.การสื่อสาร

5.การนับถือศาสนาและปฏิบัติตามบทบัญญัติของศาสนา

6.แสดงค.ห.

7.ทางวิชาการ

8.การชุมนุมโดยสงบ

9.รวมกันเป็นสมาคม สหภาพ สหพันธ์ สหกรณ์ กลุ่มฯลฯ

10.รวมกันจัดตั้งเป็นพรรคการเมือง

11.ประกอบอาชีพ


หน้าที่ของประชาชนชาวไทย

1.รักษาไว้ซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีกษัตริย์เป็นประมุข

2.ปฏิบัติตามกฎหมาย

3.ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง

4ค่านิยม คือสิ่งที่คนสนใจ สิ่งที่คนปรารถนาจะเป็นได้ แบ่งเป็น 2 ประเภท

1.ค่านิยมบุคคล
2.ค่านิยมของสังคม

ค่านิยมที่ดีในไทย
1.ความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
2.ความกตัญญู
3.การเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่
4.ความซื่อสัตย์
5.สุภาพอ่อนน้อม

ค่านิยมที่ควรแก้ไข
1.ความมีวินัย
2.การตรงต่อเวลา
3.เชื่อโชคลาง
4.ชอบพิธีการ
5.ชอบพนัน

ลักษณะสังคมไทย
1.เป็นสังคมเกษตรกรรม
2.การศึกษาต่ำ
3.มีความรักความผูกพันในถิ่นกำเนิด
4.ยึดมั่นขนบธรรมเนียมประเพณี
5.โครงสร้างทางสังคมที่มีชนชั้น
6.เทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์

ลักษณะของสังคมเมือง
1.ความหนาแน่นประชากรมาก
2.ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกเป็นแบบทุติยภูมิ
3.การศึกษาสูง
4.มาตรฐานการครองชีพสูง
5.การแข่งขันสูง
6.อาชีพหลากหลาย รายได้สูง
7.ตื่นตัวทางการเมืองสูง
8.เปลี่ยนแปลงทางสังคมรวดเร็ว

ลักษณะสังคมชนบท
1.มีอาชีพทางการเกษตรมาก
2.พึ่งพาธรรมชาติมาก
3.ยึดมั่นในขนบธรรมเนียมประเพณี
4.มีความสัมพันธ์กันแบบปฐมภูมิ
5.ชีวิตความเป็นอยู่คล้ายๆกัน

ลักษณะของสิ่งที่เป็นปัญหาสังคม
1.สภาวการณ์ที่ไม่พึงปรารถนา
2.มีผลกระทบต่อคนจำนวนมาก
3.มีความต้องการที่จะปรับปรุงแก้ไข


ตัวอย่างที่เป็นปัญหาสังคมไทย
1.ความยากจน

2.การกระจายรายได้

3.ฉ้อราษฎร์บังหลวง

4.ยาเสพติด

5.การว่างงาน

6.สิ่งแวดล้อม

7.โรคเอดส์


การเปลี่ยนแปลงทางสังคม แบ่งได้ดังนี้

1.เปลี่ยนแปลงครั้งก่อนร.4 แต่เดิมเชื่อถือผีสาง เทวดาเชื่อวิญญาณ นำมาสู่ประเพณี เช่น เผาเทียนเล่นไฟ
พอมาถึงสมัยอยุธยาความสัมพันธ์ระหว่างพระมหากษัตริย์กับประชาชนเปลี่ยนจากพ่อ- ลูก มาเป็นนาย - บ่าว ชายเป็นใหญ่ในครอบครัว

2.หลังร.4 อารยธรรมตะวันตกเข้ามา ผู้หญิงมีบทบาทมากขึ้น เปลี่ยนสมัยจอมพล ป.

3.การเปลี่ยนในปัจจุบัน อิทธิพลตะวันตกยิ่งมาก ความเชื่ออุดมการณ์เปลี่ยน ความเท่าเทียมมากขึ้น ความสัมพันธ์ในครอบครัวลดลง


การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง
สุโขทัย พ่อปกครองลูก มีพ่อขุนรามเป็นผู้นำ รับผิดชอบทุกด้าน ประชาชนมีหน้าที่ทำตามความสัมพันธ์

อยุธยา แบบเทวราชาหรือสมมติเทพ ปกครองแบบจตุสดมภ์แบ่งเป็น เวียง วัง คลัง นา



รตนโกสินทร์ แบบเทวราชา ตอนต้นแบบอยุธยา จนถึงร.5 ปฏิรูปสังคม เศร.และการปกครอง

จัดระเบียบตามตะวันตก จน 2475เปลี่ยนจากสมบูรณาญาสิทธิราชมาเป็นประชาธิปไตย โดยคณะราษฎร์ แบ่งอำนาจเป็น 3 ฝ่าย

1.บริหาร - รัฐรับผิดชอบ

2.นิติบัญญัติ - ออกกฎหมายโดยรัฐสภา

3.ตุลาการ - ให้ความยุติธรรมโดยศาล



การเปลี่ยนแปลงทางเศร. แบ่งเป็น

1.ไม่มีแบบแผน ตั้งแต่อยุธยา - 2504

2.มีแบบแผน หลัง2504 เป็นต้นมา

(ดูเรื่องแผนพัฒนาเศร. ในกระทู้ที่ 0442 ค.ห. 5 ประกอบ

http://www.a-ivf.com/cud41/board/generate.php?content=0442&page=-1



แนวโน้มเศร.

1.เศร. - ชนบทและเมืองจะต่างกันมากขึ้นด้านรายได้

2.เสียเปรียบดุลการค้าต่อเนื่อง เพราะสั่งวัสดุเข้ามามาก

3.แรงงานเกษตรเป็นแรงงานอุตฯมากขึ้น รายได้ดีกว่า

4.ชนบทมีพื้นทีททำกินน้อยลง เพราะการขยายตัวของอุตฯ

5.สังคมเน้นอุตฯ

6.ใช้เครื่องจักรมากขึ้น แรงงานลดความสำคัญลง

7.เน้นทักษะมากขึ้น

8.คมนาคมขยายตัวมาก



แนวโน้มด้านสังคม

1.เป็นปัจเจกชนมากขึ้น

2.เสมอภาค

3.ครอบครัวแตกแยกมากขึ้น

4.วัยรุ่นมีพฤติกรรมต่างไปจากเดิม

5.ยังยึดถือโชคลางแต่เป็นการแข่งขัน

6.มีค่านิยมในด้านสร้างปัญหา เช่น นิยมต่างชาติ เห็นแก่เงิน



แนวโน้มด้านการเมือง

1.มีส่วนร่วมมากขึ้นทุกรูปแบบโดยผ่านการเลือกตั้ง

2.มีประชาธิปไตยมากขึ้น

3.ขาดแรงกระตุ้นให้สร้างผู้นำอย่างแท้จริง

4.เป็นนักปฏิบัติมากกว่านักอุดมการณ์

5.คนมีฐานะจะมีส่วนร่วมทางการเมืองมากขึ้น



เรื่องภูมิปัญญาดูในกระทู้ที่ 0433 ค.ห.18

http://www.a-ivf.com/cud41/board/generate.php?content=0433&page=1



สิทธิมนุษยชน คือ สิทธิที่มนุษย์ทุกคนมีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์เท่าเทียมกัน ใครจะละเมิดไม่ได้



คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประกอบด้วยประธานคนหนึ่ง และกรรมการ10 คน

ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง มีวาระในการดำรงตำแหน่ง 6 ปี และดำรงได้วาระเดียว



อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการนี้

1.ตรวจสอบ+รายงานการละเมิดสิทธิ

2.เสนอแนะนโยบายและข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย

3.ส่งเสริมการศึกษา วิจัย เผยแพร่ความรู้ด้านสิทธิ

4.ส่งเสริมความร่วมมือประสานงานระหว่างหน่วยงานราชการ องค์การเอกชน+องค์การอื่นด้านสิทธิมนุษยชน

5.จัดทำรายงานประจำปี ประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิในปท.เสนอรัฐสภา

6.อำนาจหน้าที่อื่นตามนักกฎหมายบัญญัติ



รัฐ คือ กลุ่มคนที่อยู่ในดินแดนที่มีอาณาเขตแน่นอน มีรัฐบาลซึ่งมีอำนาจอธิปไตย

องค์ประกอบมี 4 ประการ

1.ประชากร

2.ดินแดน

3.รัฐบาล ทำหน้าที่รักษาความสงบภายใน ป้องกันการรุกรานจากภายนอกฯลฯ

4.อำนาจอธิปไตย คืออำนาจสูงสุดในการปกครองของรัฐ



ประเภทของรัฐมี 2 แบบคือ

1.รัฐเดี่ยว มีรัฐบาลปกครองเพียงรัฐบาลเดียว รวมอำนาจไว้ที่ส่วนกลางแห่งเดียว เช่น ไทย ญี่ปุ่น สวีเดน อังกฤษฯลฯ

ข้อสังเกต มีลักษณะการปกครองที่มีกฎหมาย ระเบียบแบบแผนอย่างเดียวกันทั้งปท. อาณาเขตไม่กว้างขวางเท่าใดนัก



2.รัฐรวม คือ รัฐที่มีการปกครอง 2 ระดับ คือมีทั้งรัฐบาลที่ตั้งอยู่ที่เมืองหลวงของรัฐ

กับรัฐบาลมลรัฐ(รัฐบาลท้องถิ่น) มีหน้าที่เกี่ยวกับการดำลงชีวิตประจำวัน

ข้อสังเกต มีรัฐบาล 2 ระดับ ส่วนใหญ่มีอาณาเขตกว้างขวาง ไม่มีเอกภาพในการบริหาร

ประชาชนมีหลายเชื้อชาติ+วัฒนธรรม ชื่อปท.มักขึ้นต้นด้วยคำว่า สหรัฐ สหภาพ สหพันธรัฐ สมาพันธรัฐ



หน้าที่ของรัฐ

1.ให้ความปลอดภัยแก่ประชาชน

2.ให้ความเป็นธรรม

3.ให้สวัสดิการ

4.รักษาความสงบและความเป็นระเบียบ

5.รักษาอธิปไตยหรือความเป็นเอกราช



ระบบการปกครองของรัฐมี 2 ระบบใหญ่

1.ประชาธิปไตย อำนาจสูงสุดเป็นของประชาชน บุคคลมีคุณค่า มีความเท่าเทียม เน้นหลักประนีประนอม

เน้นหลักศีลธรรม ให้ความสำคัญแก่บุคคล ใช้หลักเหตุผลขจัดความขัดแย้ง ยึดเสียงข้างมาก รูปแบบการปกครองมี 3 แบบ

- รัฐสภา รัฐสภามีอำนาจเหนือคณะรัฐมนตรีควบคุมนโยบาย+การบริหารของคณะรัฐมนตรี

คณะรัฐมนตรีเอากฎหมายที่รัฐสภาบัญญัติไปปฏิบัติ นิติบัญญัติลงมติไม่ไว้วางใจฝ่ายบริหารได้

ถ้าแพ้มติรัฐบาลต้องออกจากตำแหน่ง ฝ่ายบริหารยุบสภาได้

ฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหารควบคุมการทำงานซึ่งกันและกัน เช่นย ไทย ญี่ปุ่น อังกฤษ

- ประธานาธิบดี แยกอำนาจระหว่างฝ่ายนิติบัญญัติกับฝ่ายบริหารและตุลาการ ทุกอำนาจถ่วงดุลกัน

สมาชิกสภาและประธานาธิบดีมาจากการเลือกตั้ง แต่ละฝ่ายมีอำนาจมีอิสระในการปฏิบัติหน้าที่ เช่นUSA

หลักการแบบนี้ประชาชนจะได้รับหลักประกันเรื่องสิทธิเสรีภาพอย่างเต็มที่

- กึ่งประธานาธิบดี กึ่งรัฐสภา นำทั้ง 2 แบบมาผสมกัน เช่น ฝรั่งเศส



2.เผด็จการ รวมอำนาจไว้ที่คน คณะบุคคล หรือพรรคการเมืองเดียว ผู้นำสามารถอยู่ในอำนาจำด้ตลอดชีวิต

รัฐธรรมนูญ และการเลือกตั้งไม่มีความจำเป็น มี 2 รูปแบบคือ

- อำนาจนิยม ประชาชนไม่มีสิทธิเสรีภาพทางการเมือง แต่มีในด้านเศร.สังคม

เช่น แบบสมบูรณาญาสิทธิราช แบบคณะบุคคล แบบอภิชนาธิปไตย(คืออะไรน่ะการปกครองแบบนี้??)

- เบ็ดเสร็จ ผู้นำมีอำนาจสูงสุด ลงโทษผู้กระทำผิดอย่างรุนแรง ประชาชนไม่มีเสรีภาพเลย

มีทั้งฟัสซิสต์ เช่น เยอรมัน อิตาลี และคอมมิวนิสต์ เช่น จีน เวียดนาม



เงื่อนไขที่ก่อให้เกิดการปกครองแบบเผด็จการ

1.ประชาชนมีการศึกษาต่ำ

2.เศร.ตกต่ำ

3.มีปัญหาความแตกต่าง หรือความไม่สงบภายในปท.

4.ความเคยชินกับเผด็จการมาก่อน



ข้อดีข้อเสียของประชาธิปไตย

ข้อดี ประชาชนมีเสรีภาพมาก มีโอกาสเข้าร่วมการบริหารของปท. ระงับข้อขัดแย้งระหว่างรัฐกับประชาชน

ข้อเสีย เกิดความล่าช้าในการตัดสินใจ เสียค่าใช้จ่ายในการปกครองมาก อาจนำไปสู่ความสับสนวุ่นวาย



ระบบเศร.การเมืองของปท.ต่างๆ แบ่งได้ 4 ระบบคือ

1.ทุนนิยมประชาธิปไตย คือนำประชาธิปไตยผสมกับระบบเศร.ให้เสรีภาพกับบุคคลในการประกอบการมากสุด เช่น USA ญี่ปุ่น

2.สังคมนิยมประชาธิปไตย ใช้ระบบการเมืองแบบประชาธิปไตย แต่ใช้ระบบเศร.แบบสังคมนิยม

รัฐดูแลการผลิตสำคัญ ในส่วนที่เกี่ยวกับความมั่นคงปท. เช่น อังกฤษ ไทย สวีเดน

3.สังคมนิยมเผด็จการ (เผด็จการคอมมิวนิสต์) รัฐเป็นผู้ควบคุม กำหนดการวางแผนควบคุมทรัพยากร ดำเนินการผลิตควบคุมราคา

แจกจ่าย ปันส่วนเองทั้งหมด เช่น จีน เกาหลีเหนือ คิวบา

4.ทุนนิยมเผด็จการ ส่วนใหญ่เป็นปท.กำลังพัฒนา หรือปท.เกิดใหม่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เช่นไทยยุคจอมพลสฤษดิ์



วิวัฒนาการทางการเมืองการปกครองของไทย



สมัยสุโขทัย เป็นแบบพ่อปกครองลูก แบ่งการปกครองดังนี้

1.การปกครองราชธานี พระมหากษัตริย์ดำเนินการปกครองเอง

2.การปกครองส่วนภูมิภาค แบ่งหัวเมืองการปกครองออกเป็น 2 ประเภท

- หัวเมืองชั้นใน ได้แก่เมืองหน้าด่าน เมืองลูกหลวง จัดเป็นเมือฝในเขตรอบพระราชธานี 4 ด้าน คือ

เมืองศรีสัชนาลัย(สวรรคโลก) สองแคว(พิษณุโลก) สระหลวง(พิจิตร) ชากังราว(กำแพงเพชร)

- หัวเมืองชั้นนอก หรือเมืองพระยามหานครมีผู้ปกครองที่ขึ้นตรงต่อสุโขทัยแต่อยู่ไกลออกไป

เช่น เมืองแพรก(สรรคบุรี) อู่ทอง(สุพรรณบุรี) ราชบุรี ตะนาวศรี แพร่ หล่มสัก เพชรบูรณ์ ศรีเทพเมืองประเทศราช

ส่วนใหญ่เป็นเมืองที่ชาวต่างชาติ มีกษัตริย์ปกครองแต่ขึ้นกับสุโขทัยในฐานะประเทศราช

เช่น นครศรีธรรมราช ยะโฮว์ ทวาย หงสาวดี น่าน เวียงจันทร์

- การปกครองประเทศราช ให้เจ้าเมืองเดิมปกครองกันเองแต่ต้องส่งบรรณาการ



สมัยอยุธยา ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ได้อิทธิพลมาจากขอม+อินเดีย เป็นแบบเทวสิทธิ์(เทวราชา/สมมติเทพ)

ถือว่ากษัตริย์เป็นเจ้าชีวิต แบ่งเป็น 3 สมัย

1.สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (อู่ทอง) แบ่งการปกครองคือ

- การปกครองส่วนกลาง หรือจตุสดมภ์ตามอิทธิพลขอม คือ

เวียง รักษาความสงบเรียบร้อย ปราบโจรผู้ร้าย

วัง เกี่ยวกับราชสำนัก การยุติธรรม การตัดสินคดีต่างๆ

คลัง งานคลังมหาสมบัติ การค้า ภาษีต่างๆ

นา ด้านการเกษตร



- การปกครองส่วนภูมิภาคแบ่งเป็น 4 ส่วน

เมืองหน้าด่าน ป้องกันราชธานี 4 ทิศ คือ ลพบุรี นครนายก พระประแดง สุพรรณบุรี

หัวเมืองชั้นใน เรียงรายตามระยะทางคมนาคม สามารถติดต่อราชธานีได้ภายใน 2 วัน เช่น สิงห์บุรี ชลบุรี ปราจีนบุรี ราชบุรีฯลฯ

หัวเมืองชั้นนอก หรือเมืองพระยามหานคร เป็นเมืองที่อยู่ไกลออกไปกษัตริย์จะส่งขุนนางที่วางพระทัยไปปกครอง

เช่น ตะนาวศรี โคราช จันทบุรี นครศรีธรรมราช

หัวเมืองปท.ราช ได้แก่ มะละกา ยะโฮว์



2.สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ มีการปรับปรุงการปกครองครั้งใหญ่ใช้มาจนสิ้นสมัยอยุธยา

- มีการแบ่งแยกการปกครองเป็น 2 ฝ่าย คือ ฝ่ายพลเรือน มีสมุหนายกเป็นหัวหน้า ฝ่ายทหารมีสมุหกลาโหมเป็นหัวหน้า

- ยกเลิกเมืองหน้าด่านและการส่งพระราชวงศ์ไปปกครอง โดยแต่งตั้งขุนนางไปปกครอง

- จัดลำดับหัวเมืองชั้นนอกเป็นหัวเมืองเอก โท ตรี ตามลำดับความสำคัญโดยส่งขุนนางไปปกครอง

- หัวเมืองชั้นในมีฐานะเป็นเมืองจัตวาขึ้นตรงต่อราชธานี

- จัดวางระเบียบเกี่ยวกับศักดินา ตำแหน่ง ยศ และราชทินนาม สำหรับบุคคลที่จะเข้ารับราชการ



3.สมัยพระเทพราชา มีการเปลี่ยนแปลงจากสมัยพระบรมไตรฯเล็กน้อย

โดยเปลี่ยนระบบควบคุมอำนาจทหารฝ่ายเดียวเป็นแบบคานอำนาจ 2 ฝ่าย

สมุหนายกดูแลควบคุมหัวเมืองทางเหนือ สมุหกลาโหมดูแลหัวเมืองทางใต้



สมัยธนบุรี ยังคงตามอย่างสมัยอยุธยาเป็นหลัก



สมัยรัตนโกสินทร์ แบ่งได้ 2 สมัย

1.ตอนต้น ยึดหลักสมัยอยุธยาแต่ความเป็นสมบูรณาญาสิทธิราชย์ของกษัตริย์ลดลง

2.การปฏิรูปสมัยสมเด็จพระจุลฯ



สมัยประชาธิปไตย



สาเหตุการปฏิรูป

1.ป้องกันจักรวรรดินิยม

2.พัฒนาปท.ตามแบบอย่างอารยปท.

3.สร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน

4.รักษาเอกราชและความอยู่รอด



การปฏิรูปการปกครอง



ปรับปรุงการบริหารราชการส่วนกลาง

1.ยกเลิกสมุหนายก สมุหกลาโหม ตำแหน่งจตุสดมภ์

2.จัดตั้งกระทรวง 12 กระทรวง(พ.ศ.2435)

- มหาดไทย บังคับบัญชาหัวเมืองฝ่ายเหนือและเมืองลาว

- กลาโหม บังคับบัญชาหัวเมืองฝ่ายใต้ หัวเมืองฝ่ายตะวันออกและเมืองมลายา

- ต่างปท.จัดการเกี่ยวกับต่างปท.

- วัง กิจการในพระราชวัง

- เมืองหรือนครบาล จัดการเกี่ยวกับเรื่องตำรวจและราชทัณฑ์

- เกษตรธิการ เกี่ยวกับการเพาะปลูก เหมืองแร่ ป่าไม้

- คลัง ภาษีอากรและงบประมาณแผ่นดิน

- ยุติธรรม จัดการเรื่องชำระคดีและการศาล

- ยุทธนาธิการ จัดการเกี่ยวกับเรื่องทหาร

- ธรรมการ ว่าด้วยเรื่องการศึกษา การสาธารณสุขและการสงฆ์

- โยธาธิการ การก่อสร้าง การช่าง ไปรษณีย์ โทรเลข รถไฟ

- มุรธาธิการ การรักษาตรวจตราแผ่นดินและระเบียบสารบรรณ



3.ตั้งสภาที่ปรึกษาในพระองค์ ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นรัฐมนตรีสภา ประกอบด้วยเสนาบดี หรือผู้แทนแต่งตั้งรวมกันไม่น้อยกว่า 12 คน

เพื่อเป็นที่ปรึกษาและคอยทัดทานอำนาจกษัตริย์

4.ตั้งองคมนตรีสภา สมาชิกไม่น้อยกว่า 49 คน มีทั้งสามัญชน ขุนนางระดับต่างๆ และพระราชวงศ์

มีฐานะรองจากรัฐมนตรีสภา



การปรับปรุงการปกครองส่วนภูมิภาค ยุบหัวเมืองต่างๆ โดยใช้การปกครองแบบเทศาภิบาล

แบ่งการปกครองเป็น หมู่บ้าน ตำบล อำเภอ เมือง(จังหวัด) และมณฑล โดยส่งข้าราชการจากส่วนกลางไปปกครอง



การปรับปรุงการปกครองส่วนท้องถิ่น ร.5 ทรงจัดให้มีการบริหารงานราชการส่วนท้องถิ่นในรูปสุขาภิบาล คล้ายเทศบาลในปัจจุบัน



การปกครองในระบอบประชาธิปไตย

สาเหตุการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475

1.อิทธิพลแนวคิดจากตะวันตก

2.นักเรียนไทยที่ไปศึกษาที่ปท.ตะวันตกต้องการเปลี่ยนการปกครอง

3.รัฐบาลแก้ปัญหาเศร.ไม่ได้



คณะราษฎร์ประกอบด้วย ทหาร ตำรวจ พลเรือน มีพันเอกพระพหลพลพยุหเสนาเป็นหัวหน้า

นายปรีดีเป็นเลขา ได้ปฏิวัติการปกครองสำเร็จ



ผลการเปลี่ยนแปลงการปกครอง

1.มีกฎหมายรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดสูงสุด

2.กษัตริย์มีพระราชฐานะและพระราชอำนาจตามที่รัฐธรรมนูญบัญญัติไว้โดยทรงเป็นผู้ใช้อำนาจอธิปไตยทางอ้อม 3 ทาง

- อำนาจนิติบัญญัติ ผ่านรัฐสภา

- บริหาร ผ่าน คณะรัฐมนตรี

- ตุลาการ ผ่านศาลยุติธรรม

3.จัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน 3 ส่วนคือ

- ส่วนกลาง ได้แก่กระทรวง ทบวง กรม

- ส่วนภูมิภาค ได้แก่ เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบลและส่วนจังหวัด เมืองพัทยา กรุงเทพ



การปกครองแบบประชาธิปไตยของไทยในปัจจุบัน



พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์

1.มีพระราชอำนาจยับยั้งพ.ร.บ. กฎหมาย ที่นายกนำขึ้นทูลเกล้า

2.แต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน

3.แต่งตั้งองคมนตรี(ประธาน 1 องคมนตรีอื่นไม่เกิน 18 คน)

4.สถาปนาถานันดรศักดิ์ พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์



สิทธิของพระมหากษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตย

1.แนะนำ ตักเตือน รัฐบาล ศาล ฯลฯที่เห็นว่าจะเกิดผลเสียหายแก่บ้านเมือง

2.รับรู้เรื่องราวต่างๆ

3.พระราชทานคำปรึกษา กรณีที่คณะรัฐมนตรีมีปัญหาเกี่ยวกับการบริหารราชการแผ่นดิน

4.พระราชทานการสนับสนุนการกระทำหรือกิจการใดๆของรัฐ เอกชนที่เห็นว่าเป็นประโยชน์ต่อบ้านเมือง



พระราชกรณียกิจ

1.พิธีการและศาสนา

2.สงเคราะห์ประชาชน

3.พัฒนาสังคม

4.การเมืองการปกครอง



บทบาทของพระมหากษัตริย์

1.ศูนย์รวมจิตใจประชาชน

2.สัญลักษณ์แห่งความต่อเนื่องของชาติ

3.พุทธมามกะและอัครศาสนูปถัมภก

4.ส่งเสริมความมั่นคงของปท.

5.แก้ไขวิกฤตการณ์ที่ร้ายแรงในปท.

6.เสริมสร้างสัมพันธไมตรีระหว่างปท.

7.เกื้อหนุนระบอบประชาธิปไตย

8.เป็นผู้นำในการพัฒนาและปฏิรูปเพื่อประโยชน์ปท.ชาติ

9.เป็นพลังในการสร้างขวัญและกำลังใจของประชาชน



รัฐสภาไทยแบ่งเป็น 2 ประเภท

1.วุฒิสภา มีสมาชิก 200คน มาจากการเลือกตั้งของประชาชน มีวาระ6 ปี



คุณสมบัติ

1.สัญชาติไทยโดยกำเนิด

2.อายุไม่ต่ำกว่า 40 ปีบริบูรณ์

3.การศึกษาไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีหรือเทียบเท่า

4.ไม่สังกัดพรรคการเมือง

5.ไม่เป็นข้าราชการประจำ

6.ไม่เป็นผู้รับสัมปทานประเภทผูกขาดจากรัฐ



อำนาจหน้าที่ กลั่นกรองกฎหมายที่มาจากสภาผู้แทนราษฎร ควบคุมฝ่ายบริหาร ให้ความเห็นชอบการแต่งตั้งองค์กรอิสระ



2.สภาผู้แทนราษฎร มี 500 คน แบ่งเป็น

- ส.ส.จากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต เลือกได้เขตละ1 คน

- ส.ส.จากบัญชีรายชื่อ 100 คน



คุณสมบัติของส.ส.

1.สัญชาติไทยโดยกำเนิด

2.อายุ25ปีขึ้นไป

3.การศึกษาตั้งแต่ปริญญาตรี หรือเทียบเท่า

4.ต้องสังกัดพรรคการเมือง

5.ไม่เป็นข้าราชการประจำ

6.ไม่เป็นผู้รับสัมปทานผูกขาดจากรัฐ

7.ถ้าได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีต้องลาออกจากส.ส.



อำนาจหน้าที่ แต่งตั้งและควบคุมฝ่ายบริหาร ออกกฎหมาย



ฝ่ายบริหารคือคณะรัฐมนตรี



คณะรัฐมนตรีประกอบด้วย นายกรัฐมนตรี 1 คน รัฐมนตรี ไม่เกิน 35 คน



คุณสมบัติ

1.สัญชาติไทยโดยกำเนิด

2.อายุ35 ปีขึ้นไป

3.ไม่เป็นข้าราชการประจำ

4.ไม่เป็นผู้รับสัมปทานประเภทผูกขาดจากรํบ

5.ถ้าเป็นส.ส.ต้องลาออกจากการเป็นส.ส.ก่อน

การพ้นตำแหน่ง

1.ยุบสภา

2.นายกลาออก

3.ถูกอภิปรายไม่ไว้วางใจ และได้รับคะแนนเสียงไม่ไว้วางใจเกินครึ่ง

4.ถูกศาลพิพากษาว่ามีความผิดทางอาญา

การบริหารงานตามกฎหมายและตามนโยบายที่แถลงได้ต่อรัฐสภา

1.จัดหารายได้และทำงบประมาณรายจ่ายในการบริหารปท.

2.สร้างความมั่นคงปลอดภัย รักษาเอกราชของชาติ

3.สร้างความเจริญของเศร.

4.สร้างความสงบเรียบร้อยในสังคม รักษาขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม เอกลักษณ์ของชาติ

5.สร้างสัมพันธไมตรีที่ดีกับนานาอารยปท.

การบริหารราชการแผ่นดินของรัฐสภา แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ

1.ระเบียบการบริหารราชการส่วนกลาง ได้แก่ กระทรวง ทบวง กรม

2.ส่วนภูมิภาค ได้แก่ จังหวัด อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน

3.ส่วนท้องถิ่น กระจายอำนาจการปกครองไปสู่ท้องถิ่น ปัจจุบันแบ่งเป็น 4 แบบ

- เทศบาล

- องค์การบริหารส่วนจังหวัด

- องค์การบริหารส่วนตำบล

- ลักษณะพิเศษ มีกรุงเทพ พัทยา

อำนาจตุลาการ คือ ศาล
ศาลรัฐธรรมนูญ
วินิจฉัยว่ากฎหมายขัดแย้งกับรัฐธรรมนูญหรือไม่ วินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ขององค์กรต่างๆ
องค์การที่ทำหน้าที่ในศาลรัฐธรรมนูญเรียก ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ และได้รับการแต่งตั้งโดยความเห็นชอบของวุฒิสภา

ศาลปกครอง พิจารณาคดีที่ประชาชนยื่นฟ้องหน่วยงานราชการ ตัวข้าราชการ รัฐวิสาหกิจหรือพนักงานรัฐวิสาหกิจ มี 2 ระดับ คือ ศาลปกครองชั้นต้น กับศาลปกครองชั้นสูงสุด

ตุลาการศาลปกครองได้รับการแต่งตั้งโดยความเห็นชอบของสมาชิกวุฒิสภา


ศาลยุติธรรม พิจารณาพิพากษาคดีทั่วไป แบ่งเป็น 3 ระดับ ศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ ศาลฎีกา

ศาลชั้นต้น คือ ศาลที่จะรับพิจารณาคดีเบื้องต้นระหว่างคู่กรณีที่พิพาทกันปัจจุบันศาลชั้นต้นได้แก่

- ศาลแพ่ง

- ศาลอาญา

- ศาลจังหวัด

- ศาลแขวง

- ศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง

- ศาลแรงงาน

- ศาลภาษีอากร

- ศาลทรัพทย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างปท.

- ศาลล้มละลาย

ก.ต.ย่อมาจาก คณะกรรมการตุลาการ มีอำนาจหน้าที่แต่งตั้งโยกย้ายถอดถอนผู้พิพากษาศาลยุติธรรม ประธานคือ ประธานศาลฎีกา

พรรคการเมือง หน้าที่
1.ดำเนินกิจกรรมทางการเมือง
2.เผยแพร่อุดมการณ์ประชาธิปไตย
3.ควบคุมการทำงานของรัฐบาล

คณะกรรมการการเลือกตั้ง ควบคุมการเลือกตั้งส.ส. และส.ว. รวมทั้งการเลือกตั้งส่วนท้องถิ่น
ตามรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน ถ้ามีการยุบสภาให้เลือกตั้งภายใน 60 วัน ถ้าครบวาระ เลือกตั้งภายใน 45 วัน

บุคคลที่มีสิทธิเลือกตั้ง

1.มีสัญชาติไทย ถ้าแปลงสัญชาติต้องได้สัญชาติมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี

2.อายุ18ปีขึ้นไป ในวันที่1 มกราคมของปีที่มีการเลือกตั้ง

3.มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 90 วัน


บุคคลที่ไม่มีสิทธิเลือกตั้ง

1.วิกลจริต จิตฟั่นเฟือน ไม่สมประกอบ

2.เป็นภิกษุสามเณร นักพรต นักบวช

3.ต้องคุมขังหรือโดนหมายศาล หรือคำสั่งที่ชอบโดยกฎหมาย

4.อยู่ในระหว่างเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง


ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ไม่น้อยกว่า 50,000 คนมีสิทธิ เสนอร่างพระราชบัญญัติต่อรัฐสภาในหมวดสิทธิเสรีภาพและถอดถอนข้าราชการระดับสูงหรือนักการเมืองที่ทุจริต และประพฤติมิชอบทางราชการ

คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ(ป.ป.ช.)
มีหน้าที่ตรวจสอบนักการเมือง หรือข้าราชการระดับสูงที่ทุจริตหรือประพฤติมิชิอบทางราชการ

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
ตั้งแต่มีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 จนปัจจุบัน ไทยได้ประกาศใช้รัฐธรรมนูญทั้งสิ้น 16 ฉบับ


สิทธิ เสรีภาพ และหน้าที่ของชนชาวไทยตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ

สิทธิของประชาชนชาวไทย
1.ชีวิตและร่างกาย
2.ครอบครัว
3.การรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
4.ทรัพย์สิน
5.การรับบริการทางสาธารณสุข
6.ได้รับความคุ้มครองโดยรัฐ สำหรับเด็ก เยาวชน และบุคคลในครอบครัว
7.ได้รับความช่วยเหลือจากรัฐ สำหรับผู้สูงอายุ
8.ได้รับสิ่งอำนวยความสะดวก ความช่วยเหลือจากรัฐสำหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพ
9.มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์+ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ
10.ได้รับการคุ้มครองฐานะผู้บริโภค
11.ได้รับทราบข้อมูลหรือข่าวสารสธารณะ
12.ได้รับข้อมูล คำชี้แจง และแสดงค.ห.ในโครงการที่ส่งผลกระทบถึงประชาชน
13.มีส่วนร่วมในการพิจารณาซึ่งมีผลกระทบถึงสิทธิและเสรีภาพของตน
14.เสนอเรื่องราวร้องทุกข์
15.ฟ้องร้องหน่วยงานรัฐ
16.ต่อต้านการกระทำเพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจในการปกครองปท.ซึ่งขัดต่อรัฐธรรมนูญ

เสรีภาพของประชาชนชาวไทย
1.ชีวิตและร่างกาย
2.เคหสถาน
3.การเดินทางและการเลือกถิ่นที่อยู่
4.การสื่อสาร
5.การนับถือศาสนาและปฏิบัติตามบทบัญญัติของศาสนา
6.แสดงค.ห.
7.ทางวิชาการ
8.การชุมนุมโดยสงบ
9.รวมกันเป็นสมาคม สหภาพ สหพันธ์ สหกรณ์ กลุ่มฯลฯ
10.รวมกันจัดตั้งเป็นพรรคการเมือง
11.ประกอบอาชีพ

หน้าที่ของประชาชนชาวไทย
1.รักษาไว้ซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีกษัตริย์เป็นประมุข

2.ปฏิบัติตามกฎหมาย

3.ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง

4.ป้องกันปท.

5.รับราชการทหาร

6.เสียภาษีอากร

7.ช่วยเหลือราชการ

8.รับการศึกษาอบรม

9.พิทักษ์ ปกป้อง สืบสานศิลปวัฒนธรรมของชาติและภูมิปัญญาท้องถิ่น

10.อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม .ป้องกันปท.

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น